Computer games were, at one time, unified. We didn’t even have the term “casual game” in 1993, let alone the idea that a first-person shooter (then an unnamed genre) could be considered a “hardcore title.” There were people who played computer games, and people who didn’t. People who got way into golf or Harpoon or hearts or text adventures — those were the “hardcore” players, in that they played their chosen field obsessively.
When Myst and the CD-ROM finally broached the mass market, this ecosystem was disrupted. Myst had, Robyn Miller makes clear, been designed to appeal to non-gamers. It sold to them. Enthusiast magazines like Computer Gaming World couldn’t set the taste for the industry anymore: there were millions buying games who didn’t read these magazines. An entirely new breed of player. In this situation, what could be more natural than concocting an us-and-them formula? In a very real way, it was already true.
The great narrative of Myst is that the “hardcore” game press and playerbase lambasted it when it launched. Disowned it. A slideshow, they called it. Abstruse, idiotic puzzles; pretty graphics and not much depth. “Critics and hardcore game players universally panned it as a slide-show that had little actual gameplay interaction”, claimed PC Gamer’s Michael Wolf in 2001.That same year, a columnist for Maximum PC recalled Myst as a “tedious code-breaking and switch-throwing mess”, and saw its then-new remake realMYST as “a pointed reminder of why the press dumped on the original so heavily when it came out.” | เกมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ครั้งหนึ่งนั้นเคยนับรวมกันเป็นประเภทเดียว เรายังไม่มีแม้กระทั่งคำเรียกว่า “เกมแคชชวล” เลยด้วยซ้ำเมื่อปี ค.ศ.1993 ดังนั้นจึงไม่ต้องพูดถึงแนวคิดเกมที่มีผู้เล่นเป็นมือปืนเลย (สมัยนั้นยังไม่มีชื่อเรียกเกมประเภทนี้) ว่าจะจัดว่าเป็น “เกมฮาร์ดคอร์” คนเรานั้นมีทั้งกลุ่มที่เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และกลุ่มที่ไม่ได้เล่น อย่างคนที่ชอบเล่นเกมกอล์ฟ เกมทำสงคราม เกมไพ่ หรือเกมที่มีเนื้อเรื่องให้อ่านก็ล้วนจัดอยู่ในกลุ่ม “ผู้เล่นเกมฮาร์ดคอร์” กันทั้งนั้น ซึ่งคำนี้หมายถึงการที่ผู้เล่นเล่นเกมแนวที่เลือกอย่างหมกมุ่น ท้ายที่สุดเมื่อเกม Myst และแผ่นซีดีรอมได้เจาะตลาดเป็นวงกว้างแล้ว ระบบนิเวศนี้ก็โดนรบกวนไปด้วย อย่างที่โรบิน มิลเลอร์เคยได้พูดไว้ชัดเจน เกม Myst นั้นสร้างขึ้นมาเพื่อดึงดูดกลุ่มคนที่ไม่ได้เล่นเกม เกมนี้ครองใจพวกเขาได้ นิตยสารสำหรับเหล่าเกมเมอร์อย่าง Computer Gaming World ก็ไม่สามารถเป็นผู้กำหนดความชอบของพวกเขาได้อีกต่อไป คนที่ซื้อเกมไปเล่นกว่าหลายล้านคนก็ไม่ได้ตามอ่านนิตยสารพวกนี้ นับว่าพวกเขาเป็นผู้เล่นเกมหน้าใหม่ไปเลยโดยสิ้นเชิง ในสถานการณ์เช่นนี้ อะไรจะเป็นการปรับตัวไปได้ดีกว่าการรวมทั้งกลุ่มผู้เล่นหน้าใหม่และกลุ่มผู้เล่นฮาร์ดคอร์เข้าด้วยกัน ในความเป็นจริง การปรับตัวข้อนี้นั้นถูกต้องดีแล้ว คำบอกเล่าเกี่ยวกับเกม Myst ที่คนพูดถึงกันมากคือเรื่องที่ผู้ผลิตหนังสือเกม “ฮาร์ดคอร์” และกลุ่มผู้เล่นเกม “ฮาร์ดคอร์” ต่างวิจารณ์เกมนี้กันอย่างรุนแรงตอนเกมเปิดตัว รวมถึงตัดสินใจเลิกเล่น Myst พวกเขาเรียกเกมนี้ว่าเป็นสไลด์โชว์เสียด้วยซ้ำ และบอกว่า Myst นั้นเข้าใจยาก เป็นเกมปริศนางี่เง่าที่กราฟิกก็พอสวยแต่ไม่ค่อยมีมิติ ไมเคิล วูลฟ์ ซึ่งเป็นเกมเมอร์บนพีซีกล่าวเมื่อปี 2001 ว่า “นักวิจารณ์และกลุ่มผู้เล่นเกมฮาร์ดคอร์ต่างเห็นตรงกันว่าเกมนี้ลักษณะเหมือนเป็นสไลด์โชว์ที่การโต้ตอบกันในเกมนั้นช่างน้อยนิด” ในปีเดียวกันนั้นเอง นักเขียนคอลัมน์ในนิตยสาร Maximum PC ได้ย้อนนึกถึง Myst ว่าเป็น “เกมถอดรหัสน่าเบื่อที่ถอยออกจากยุคเกมกด” และมองว่าการรีเมคเกมนี้ใหม่เป็น realMYST นั้นคือ “เครื่องย้ำเตือนที่ชัดเจนว่าทำไมฝ่ายข่าวด้านเกมถึงเท Myst ฉบับออริจินัลเสียไม่มีชิ้นดีตอนเกมเปิดตัว” |